ទំព័រគំរូ:กล่องข้อมูล โบราณสถานวัดศรีสวาย ตั้งอยู่ห่างออกไปทางตอนใต้ของวัดมหาธาตุประมาณ 350 เมตร โบราณสถานสำคัญที่ตั้งอยู่ในกำแพงแก้ว ประกอบด้วยปรางค์ 3 องค์ รูปแบบศิลปะลพบุรี ลักษณะของปรางค์ค่อนข้างเพรียว ตั้งอยู่บนฐานเตี้ย ๆ ลวดลายปูนปั้นบางส่วนเหมือนลายบนเครื่องถ้วยจีน สมัยราชวงศ์หยวน ได้พบทับหลังสลักเป็นรูปนารายณ์บรรทมสินธุ์ ชิ้นส่วนของเทวรูป และศิวลึงค์ที่แสดงให้เห็นว่าเคยเป็นเทวสถานในศาสนาฮินดูมาก่อน แล้วแปลงเป็นพุทธสถานโดยต่อเติมวิหารขึ้นที่ด้านหน้า แล้วเป็นวัดในพุทธศาสนาภายหลัง นน วัดศรีสวาย เดิมเป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู ลักษณะเป็นปรางค์สามยอดแบบขอม มีคูน้ำล้อมรอบปรางค์สามองค์ โบราณสถานดังกล่าวนี้มีที่มาจากทรงปราสาทแบบขอม แต่ได้รับการดัดแปลงแตกต่างจากต้นแบบ เช่นส่วนประดับของปราสาทขอมที่เรียกว่า บันแถลง กลายเป็นรูปกลีบขนุน และปูนปั้นประดับกลีบขนุนเป็นรูปครุฑยุดนาคและเทวดา ปรางค์วัดศรีสวายจึงแตกต่างจากปรางค์สมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งมีต้นแบบจาก ปรางค์ในศิลปะขอมและคล้ายคลึงแบบขอมมากกว่าปรางค์ในแบบของช่างสุโขทัย

ពេល ​ព្រះ​ករុណា​ព្រះបាទ​សម្ដេច​ ព្រះអង្គទ្រង់យាងទៅលេងសុខោទ័យ គាត់​បាន​រក​ឃើញ​រូប​ព្រះ​សិវៈ និង​ថ្ម​បុរាណ​មួយ​ឆ្លាក់​ជា​ផ្ទាំង​ថ្ម​នៃ​រូប​ព្រះ​នរាយណ៍​លើ​គ្រែ។ រូប​ព្រះ​វិស្ណុ​មាន​អាវុធ​បួន ហើយផ្នែកខ្លះនៃរូបព្រះ និង សិវលិង្គ ត្រូវបានធ្វើពីលង្ហិន។ ដូច្នេះ​ហើយ​លោក​សន្មត​ថា​ ប្រាសាទស្រីស្វាយ នេះ​ប្រហែល​ជា​កន្លែង​ដែល​ព្រាហ្មណ៍​ធ្លាប់​ធ្វើ​កិច្ចការ​របស់​ខ្លួន។ ប៉ុន្តែក្រោយមកនៅពេលដែលជនជាតិថៃចូលមកកាន់កាប់សុខោទ័យ ដូច្នេះ​ហើយ​ប្រាសាទ​នេះ​ត្រូវ​បាន​ប្រែ​ក្លាយ​ជា​ប្រាសាទ​ពុទ្ធសាសនា។